|
9. อิงอาศัย |
|
|
|
|
 |
ในหุบเขาลำพญามีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกลุ่มอิงอาศัยเพราะสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งเสมอเพื่อความอยู่รอด ดังนั้น เมื่อมีการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งอาจให้หรือพึ่งสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง สิ่งต่างๆเหล่านี้เราเรียกว่า ภาวะอิงอาศัย |
 |
|
|
|
|
ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (Commensalism : + , 0) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น |
|
|
|
|
|
• พืชอิงอาศัย (epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ที่อยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสม โดยต้นไม้ใหญ่ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ใด ๆ |
|
|
|
• นก ต่อ แตน ผึ้ง ทำรังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่านี้ได้ที่อยู่อาศัย หลบภัยจากศัตรูธรรมชาติ โดยต้นไม้ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร |
|
|
|
|
|
|
|
|
กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่กล้วยไม้จะยึดเกาะอยู่บริเวณผิวของเปลือกของต้นไม้ใหญ่โดยที่ต้นไม้ไม่ได้รับประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประมวลภาพกิจกรรมเส้นทางศึกษาธรรมชาติหุบเขาลำพญา |
|
|
|
|
|
|
|